สาระสำคัญของดนตรีศึกษา -- ประวัติดนตรีศึกษาในประเทศไทย -- ประวัติดนตรีศึกษาในทวีปยุโรป -- พื้นฐานดนตรีศึกษาด้าน ปรัชญา ดนตรี จิตวิทยา สังคมวิทยา สุนทรียศาสตร์ เทคโนโลยี -- ดนตรีศึกษาในประเทศไทย : การย่างก้าวสู่คริสต์ศตวรรษที่ 21 -- แนวทางการผลิตครูดนตรีสำหรับสังคมไทย -- แนวทางการกำหนดการเรียนรู้ดนตรีในหลักสูตร -- หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 -- หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มศิลปะ (สาระที่ 2 ดนตรี) -- วิธีการสอนดนตรีของดาลโครช ออร์ฟ และโคดาย -- การสอนทักษะปฏิบัติดนตรี -- การวัดและประเมินผลดนตรี -- ดนตรีศึกษาในกลุ่มประเทศอาเซียน สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ฮังการี -- ความสามารถพิเศทางดนตรี -- สุนทรียภาพใต้ฟ้าเดียวกัน -- เพื่อความซาบซึ้งในดนตรี ข้อคิดเห็นอีกทัศนะหนึ่งเกี่ยวกับสังคีตนิยม -- ดนตรีศึกษาสำหรับฝ่ายอนุบาล โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม -- ดนตรีสำหรับผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ -- โคดาย : วิเคราะห์สาระสำคัญ -- หลักการเบื้องต้นในการจัดแสดงดนตรี -- การถ่ายทอดวัฒนธรรมดนตรีไทยของชุมชนอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม กรณีศึกษาวงไทยบรรเลง -- การทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาด้วยคะแนนผลการสอบคัดเลือกทั่วประเทศเพื่อเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ กับสัมฤทธิผลทางการศึกษาของนิสิต ภาควิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย -- การนำเสนอแนวทางการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ดนตรีตะวันตก ในหลักสูตรดนตรีของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ -- การนำเสนอแนวทางการพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญษตรี สาขาวิชาคีตศิลป์ไทย ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ -- การนำเสนอแนวทางการพัฒนาการสอนเปียโนระดับชั้นต้นของหลักสูตรเปียโนอัลเฟรด สำหรับสถาบันสอนดนตรีเอกชนในกรุงเทพมหานคร -- การนำเสนอแนวทางการฝึกประสบการณ์วิชาชีพของนิสิตสาขาการสอนวิชาเฉพาะ วิชาเอกดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย -- การนำเสนอรูปแบบการจัดการเรียนรู้วิชาดนตรีสำหรับเด็กปฐมวัยของครูในโรงเรียนเอกชน --
การประเมินโครงการรับนักเรียนผู้มีความสามารถพิเศษระดับชาติทางศิลปะ เข้าศึกษาต่อในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย -- การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดนตรีสากลขั้นพื้นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนโดยการสอนตามแนวคิดของโคดายกับการสอนตามแนวคิดของเบอร์เกตันและบอร์ดแมน -- การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงอยู่ของการเรียนรู้โน้ตสากลเบื้องต้นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยเพลงพื้นบ้านอีสานใต้กับเพลงไทยสากล -- การพัฒนาการเรียนการสอนสังคีตนิยมระดับอุดมศึกษาในมหาวิทยาลัยของรัฐ -- การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นการสะสมรูปแบบของจังหวะ ด้วยสื่อการสอนแบบปฏิสัมพันธ์ เพื่อฝึกการอ่านโน้ตแบบฉับพลันสำหรับนักเรียนกีตาร์ในระดับชั้นต้น -- การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้เปียโนตามแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานสำหรับเด็กอายุ 9-11 ปี -- การพัฒนาชุดการสอนโซลเฟจประกอบหลักสูตรไวโอลินตามแนวของยามาฮ่า สำหรับนักเรียนโรงเรียนดนตรีสยามกลการระดับชั้นต้น -- การพัฒนาแบบฝึกคลาริเน็ตเพื่อบรรเลงเพลงไทย : กรณีศึกษาเพลงเดี่ยวพญาโศก --การพัฒนาโปรแกรมการส่งเสริมความสามารถทางการขับร้องของครูปฐมวัย ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กวัยอนุบาลโดยการประยุกต์ใช้แนวคิดทางดนตรีของโคดาย -- การพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านโสตทักษะตามแนวคิดโคดาย สำหรับนักเรียนเปียโนระดับชั้นต้น -- การพัฒนารูปแบบการสอนวิชาปฏิบัติเครื่องดนตรีกลุ่มเครื่องสายของโรงเรียนดุริยางค์ทหารอากาศ -- การรับรู้เรื่องระดับเสียงของเด็กปฐมวัย -- การวิเคราะห์เพลงที่ใช้ในกิจกรรมการสอนร้องเพลง ในโรงเรียนประถมศึกษากรุงเทพมหานคร -- การศึกษากระบวนการถ่ายทอดการบรรเลงระนาดเอกของครูประสิทธิ์ ถาวร ศิลปินแห่งชาติ -- การศึกษาการจัดกิจกรรมดนตรีสำหรับนักเรียนอนุบาลในโรงเรียนสังกัด สำหนักคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ -- การศึกษาพฤติกรรมการสอนดนตรีในสหวิทยาลัยอีสานใต้ -- ความคิดเห็นของนิสิตต่อสาระและวิธีสอนของวิชาสังคีตนิยม -- ประวัติดนตรีไทยศึกษา -- ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนดนตรีสากลขั้นพื้นฐานตามแนวคิดของ Kodaly ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม -- เพลงพื้นบ้านท่าโพ : เนื้อหาดนตรีและการสืบทอด -- ระยะช่วงเสียงที่เหมาะสมสำหรับเด็กระดับประถมศึกษาปีที่ 1-6 ที่ใช้ในการร้องเพลง -- History of Thai music education -- Tah Poh folk songs : music contents and transmission -- ประวัติดนตรีไทยศึกษา
ยังไม่มีรายการแสดงความคิดเห็น